การสร้างเว็บไซต์ด้วย joomla

ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ 2 ภาษา


  • 1.เข้าไปที่หน้าของผู้ดูแลระบบ จากนั้นไปติดตั้งให้มี 2 ภาษาก่อน >>> ไปที่เมนู Extensions (เอ็กเทนชัน) เลือก Language (แรงเกวจ)


2.คลิก Install Language (อินสตอแรงเกวจ)


3.ค้นหาภาษาที่ต้องการติดตั้งแล้วคลิก install (ในที่นี้ได้ทำการติดตั้งไว้แล้วจึงขึ้นเป็น Reinstall (รีอินสตอล)



  • 4.กลับมาที่เมนู Extensions เลือก Language(s) จะเห็นภาษาที่ติดตั้งเพิ่มมา

5.เพื่อความเป็นระเบียบของเนื้อหาให้สร้าง Categories (คาเทกอรี่) สำหรับแต่ละภาษาไว้ ไปที่ Content (คอนเท้น) เลือก Category Manager (คาเทกอรี่ เมเนเจอร์) เลือก Add New Category (แอด นิว คาเทกอรี่)


6.ใส่ Title (ไตเติ้ล) ของหมวดหมู่ภาษานั้น และเลือก Language ให้ตรงกัน 

English

Thai


7.Categories ที่ได้


8.หลังจากได้ Category แล้ว ให้สร้างเนื้อหาในแต่ละ Category >>> ไปที่เมนู Content เลือก Article Manager (อาติเคิ้ล เมเนจเจอ) คลิกที่ Add New Article (แอด นิว อาติเคิล)


9.ใส่ Title และ Content ของแต่ละเนื้อหา ที่สำคัญคือต้องระบุ Category กับ Language ให้ถูกต้อง

English

Thai


10.เนื้อหาของแต่ละภาษาที่สร้างไว้




  • 11.ต่อมาจะสร้างเมนูเพื่อคลิกดูเนื้อหาบนหน้าเว็บ วิธีสร้างเมนูให้ >>> ไปที่แถบเมนูด้านบน Menus เลือก Manager แล้วคลิก Add New Menu (แอด นิว เมนู)

  • 12.สร้างเมนูสำหรับภาษาอังกฤษ

  • 13.สร้างเมนูสำหรับภาษาไทย

  • 14.สรุปเมนูที่ได้

  • 15.หลังจากได้เมนูแต่ละภาษา เราต้องสร้าง items (ไอเท็ม) ในเมนูด้วย เริ่มที่เมนูของภาษาอังกฤษ เข้าไปที่ Menus เลือก Main Menu EN แล้วคลิก Add New Menu Item


  • 16. Items ของ Main Menu EN ตัวแรกที่ควรสร้างคือหน้าหลักของภาษาอังกฤษ  (ตั้งค่าตามรูปภาพในช่องสี่เหลี่ยม)



  • 17.หลังจากบันทึกข้อมูล Item หน้าหลัก ของ Main Menu EN ถ้าทำถูกต้องจะมีรูปธงชาติของภาษาอังกฤษแสดง


  • 18.ต่อมาสร้าง Item สำหรับแสดงเนื้อหาภาษาอังกฤษที่เราสร้างไว้

  • 19.สำหรับการทำ Item Menu (ไอเท็ม เมนู) จากเนื้อหา ให้เลือก Menu Item Type (เมนู-ไอเท็ม ไทป์) เป็น Article แล้วเลือก Single Article (ซิงเกิ้ล อาติเคล) ที่สำคัญอย่าลืมเลือก Language


  • 20.เสร็จของภาษาอังกฤษแล้ว ต่อมาทำของภาษาไทย ไปที่ Menus เลือก Main Menu TH แล้วคลิก Add New Menu Item



  • 21.Items ของ Main Menu TH ตัวแรกที่ควรสร้างคือหน้าหลักของภาษาไทย  (ตั้งค่าตามรูปภาพในช่องสี่เหลี่ยม)


  • 22.หลังจากบันทึกข้อมูล Item หน้าหลัก ของ Main Menu TH ถ้าทำถูกต้องจะมีรูปธงชาติของภาษาไทยแสดง


  • 23.ต่อมาสร้าง Item สำหรับแสดงเนื้อหาภาษาไทยที่เราสร้างไว้


  • 24.สำหรับการทำ Item Menu จากเนื้อหา ให้เลือก Menu Item Type เป็น Article แล้วเลือก Single Article ที่สำคัญอย่าลืมเลือก Language


  • 25.สำหรับขั้นตอนต่อไป ต้องทำ Module สำหรับแสดง Menu ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย ไปที่เมนู Extensions เลือก Modules


  • 26.เลือก New แล้วเลือกประเภท Module (โมดูล) เป็น Menu


  • 27.Module ภาษาอังกฤษ ใส่ข้อมูล title และข้อมูลที่สำคัญ  >>> Select Menu (ซีเล็ค เมนู) เลือก Main Menu EN >>> Language เลือก English (UK)


  • 28.Module ภาษาไทย ใส่ข้อมูล title และข้อมูลที่สำคัญ >>> Select Menu เลือก Main Menu TH >>> Language เลือก Thailand (TH)


  • 29.Module Menu หลังจากสร้างเสร็จ



  • 30.หลังจากนั้นให้สร้าง Module อีกตัว สำหรับกดสลับภาษา ให้คลิก New แล้วเลือก Language Switcher (แรงเกวจ สวิชเชอร์)



  • 31.หลังจากสร้าง Module Language Switcher เสร็จแล้วต้องเปิดใช้งาน Plugin (ปลั๊กอิน) ไปที่เมนู Extensions เลือก Plugins


  • 32.ค้นหา Plugin ที่เกี่ยวข้องกับ language 2 ตัว ซึ่งปกติจะปิดใช้งานอยู่ต้องทำเครื่องหมายถูกแล้วคลิกปุ่ม Enable เพื่อเปิดใช้งาน



  • 33.เสร็จเรียบร้อย ดูหน้าเว็บได้เลยจะเห็นว่ามีปุ่มเปลี่ยนภาษาขึ้นมาที่ตำแหน่งที่เราวางไว้





บทที่ 5 วัฏจักร (วงจรชีวิต) การพัฒนาระบบการจัดการความรู้



หัวข้อที่เกี่ยวข้องมี 4 หัวข้อคือ 

> Compare CSLC and KMSLC (เปรียบเทียบระหว่าง CSLC และ KMSLC)
> User’s vs. Expert’s Characteristics  (คุณลักษณะของผู้ใช้งาน กับ ผู้เชี่ยวชาญ)
> Stages of KMSLC  (ขั้นตอนวงจรการพัฒนาระบบ)
> Layers of KM Architecture  (ระดับของสถาปัตย์กรรมของความรู้)

การพัฒนาการจัดการความรู้

  •       นักวิเคราะห์ระบบ  จะกระทำกับสารสนเทศที่มาจากความต้องการของผู้ใช้
  •       ผู้ใช้งาน  จะรู้ปัญหาเป็นอย่างดีแต่ไม่รู้ทางแก้ ตรงกันข้ามผู้เชียวชาญจะรู้ทั้งปัญหาและทางแก้
  •       วงจรการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม  โดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนที่เป็นลำดับมาก่อนมาหลังส่วนKM SLC การพัฒนาแบบเพิ่มพูล พัฒนาทีละส่วนจนเสร็จก่อนถึงจะนำไปใช้ได้
  •      การทดสอบระบบ  ปกติจะกระทำขั้นตอนสุดท้ายของวงจร แต่ถ้าป็น KM system testing จะเข้าไปมีส่วนตั้งแต่เริ่มต้นเลย
  •      วงจรการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม  ขับเคลื่อนไปด้วยกระบวนการ หรือเรียกว่า มีการกำหนดความต้องการและค่อยสร้างมันขึ้นมาแต่ถ้าเป็นวงจรชีวิตของ KM จะมุ่งเน้นถึงผลลัพธ์ ไม่ได้มุ่งเน้นถึงกระบวนการ  " เริ่มต้นอย่างช้าๆแต่มีการเติบโต "


วงจรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้8 ขั้นตอน


ขั้นตอนที่ 1 : ประเมินโครงสร้างเพื่อนฐานที่มีอยู่
-          ประเมินโครงสร้างเพื่อนฐานที่มีอยู่ ได้แก่ โครงสร้างฮาร์ดแวร์ พื้นที่ในการขัดเก็บข้อมูลว่าเรามีหน่วยความจำเท่าไร ดูจากแรม อื่นๆ
-          มีความรู้อะไรหรือไม่ที่จะหายไปจากการเกษียณอายุ แต่เขายังไม่ได้ถ่ายทอดทั้งหมดมันก็จะหายไปพร้อมกับตัวเขา หรือหายไปจากการโอนย้ายไปอีกฝ่ายหนึ่ง
-          ระบบ KM ที่นำเสนอต้องนำมาใช้ในหลายๆพื้นที่ หลายๆฝ่ายหรือป่าว อาจจะต้องมีความซับซ้อนมากขึ้น
-          มีผู้เชี่ยวชาญหรือไม่ และเต็มใจช่วยเหลือในการสร้างระบบ KM หรือไม่
-          ปัญหาต่างๆที่เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบต้องใช้ประสบการณ์ยาวนานหลายๆปีหรือไม่ ต้องใช้ tacit หรือไม่

ขั้นตอนที่ 2 : จัดตั้งทีมระบบ KM
-         ผู้ที่เป็นหลัก ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ KMความสามารถของสมาชิกในทีม
-         ขนาดของทีม ทีมที่จะประสบความสำเร็จ ขนาด 7 คนโดยเฉลี่ย
-          ความซับซ้อนของโครงการ ถ้าซับซ้อนมากโอกาสที่ทีมจะสำเร็จน้อย
-         ภาวะผู้นำ และ แรงจูงในของทีมความสามรถที่จะดึงดูดให้ลูกน้องมาทำงานด้วยความเต็มใจ สั่งไปแล้วลูกน้องไม่ทำคือไม่มีภาวะผู้นำ 
-         ไม่สัญญามากไปกว่าสิ่งที่เราจะส่งมอบ สิ่งที่เป็นความเป็นจริงของระบบที่เราจะส่งมอบ

ขั้นตอนที่ 3 : แหล่งความรู้
-         ความรู้ชัดแจ้งจากแหล่งที่หลากหลาย
-         ความรู้โดยนัยดึงจากผู้เชียวชาญซึ่งจะต้องใช้เครื่องมือวิธีการที่หลากหลาย เช่นระบบพี่เลี้ยง AAR
-         นักพัฒนาจะไปดึงความรู้จากผู้เชียวชาญมาสร้างฐานความรู้มาไว้ในระบบ เพื่อนที่จะมา input ในการประมวลผลและได้ความรู้ต่างๆ

ขั้นตอนที่ 4 :  ออกแบบ KM Blueprint
 KM พิมพ์เขียวจัดการกับปัญหาหลายประการ :
-          ขั้นของการออกแบบพิมพ์เขียวของระบบ KM ออกแบบได้ในหลายๆทาง สุดท้ายแล้วขอบเขตที่เราต้องการมันจะต้องถูกคำนึงถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ
-          มีการตัดสินใจอยู่บนองค์ประกอบของความต้องการของระบบ
-          มีการพัฒนาระดับชั้นที่สำคัญของสถาปัตยกรรมการพัฒนาระบบ KM
-          ระบบนี้อาจจะต้องสามารถใช้งานระว่างโครงสร้างพื้นฐานที่แตกต่างกันได้ สามารถขยายขนาดได้ 

ขั้นตอนที่ 5 :  การทดสอบระบบ KM
-          วิธีการตรวจสอบความเหมาะสมของระบบ เพื่อที่จะแน่ใจว่าระบบมีฟังก์ชั่นการทำงานที่เหมาะสม
-          วิธีการตรวจสอบเพื่อที่จะแน่ใจว่าระบบได้ผลลัพธ์ที่ถูต้อง
-          ตรวจสอบความถูกต้องของ KM ที่ไม่ได้ผิดพลาดจากความประมาท เช่นเราจะต้องเขียนโปรแกรมให้อ่านแต่ตัวเลข

ขั้นตอนที่ 6 :  ใช้ระบบ KM
-          เปลี่ยนไปสู่ระบบ Km ใหม่
-          การเปลี่ยนข้อมูลที่อยู่ในเอกสาร หรือกระดาษให้อยู่ในรูปแบบ DATA ให้เป็น file
-          อบรมผู้ใช้งาน
-          การประกันคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญซึ่งรวมถึงการตรวจสอบสำหรับ :
-          ความผิดพลาดเชิงเหตุเชิงผล เช่น เขียนโปรแกรมคิดเกรด มีเงื่อนไขถ้าคะแนนเท่านี้ได้เกรดนี้ เราจะใช้คำสั่งอะไร
-          ตรวจถึงความคลุมเครือ
-          อะไรที่ไม่สมบูรณ์ไปปรับให้สมบูรณ์ เช่น กรอกข้อมูล ดอกจันสีแดงที่เราต้องกรอก
-          ตรวจความผิดพลาดระหว่าง เราตรวจแล้วมันถูกแต่จริงๆแล้วผิด เช่น เราตรวจแล้วให้คำตอบว่าผิดแต่จริงๆแล้วถูก เช่น ทางการแพทย์ หมอบอกว่าเป็นโรคนี้แต่ไม่ได้เป็น

ขั้นตอนที่ 7 :  จัดการโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงและรางวัล
-          เป้าหมาย คือ ต้องการลดแรงต่อต้านที่จะเกิดขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญ จาก user พนักงาน และผู้ที่ก่อกวน
-          สะท้อนออกมาในรูปปฏิกิริยาโต้ตอบ เช่น บอกให้จะต้องกำหนด password ไม่ตำว่า 8 หลัก เขาอาจจะไม่ทำตาม หลีกเลี่ยง หรือก้าวร้าว

ขั้นตอนที่ 8 :  ประเมินผลจากการที่เอาระบบไปใช้แล้ว
-          ผลกระทบ : คน ขั้นตอนการ ผลการดำเนินงานของธุรกิจ



                                                          สถาปัตยกรรมของระบบ KM

User Interface : จะติดต่อกับ user  จะเห็นระบบเฉพาะส่วน เช่น เว็บเบราว์เซอร์

Authorized access control : การควบคุมสิทธิในการเข้าถึง บางระบบจะต้องผ่านการใส่ password ติดตั้ง Ftrewalls, e.g., security และ authentication

Collaborative intelligence and filtering : การทำงานร่วมกันของตัวแทนความเฉลียวฉลาด หรือตัวที่ดึงข้อมูลที่สำคัญมาใช้งาน

Knowledge-enabling applications: แอปพลิเคชั่นต่างๆที่ใช้ในระบบKM ได้แก่ customized applications, skills directories, videoconferencing, decision support systems,group decision support systems tools

Transport : ชั้นนำส่งข้อมูล จากการปฏิบัติงานจะได้ ประมวลผลความรู้ จะถูกนำส่งไปอีกเครื่องหนึ่ง ผ่านe-mail, Internet/Web site, TCP/IP protocol to manage traffic flow หรือ แสดงออกทางหน้าจอ

Middleware : ซอฟต์แวร์ที่ช่วยทำให้การทำงานของชั้นแอพพลิเคชั่น กับ เครือข่ายสามารถติดต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

The Physical Layer : ชั้นกายภาพจะประกอบไปด้วย แอปพลิเคชั่นรุ่นเก่า เช่น บัญชีเงินเดือน กรุ๊ปแวร์ การแลกเปลี่ยนเอกสาร การทำงานร่วมกัน คลังข้อมูล การล้างข้อมูล data mining
            

เนื้อหาที่แนะนำ

การสร้างเว็บไซต์ด้วย joomla

ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ 2 ภาษา 1. เข้าไปที่หน้าของผู้ดูแลระบบ จากนั้นไปติดตั้งให้มี 2 ภาษาก่อน >>> ไปที่เมนู Extens...